การประยุกต์ศาสตร์ด้าน
GIS, RS และ GPS เพื่อใช้ศึกษาประเด็นทางด้านภูมิศาสตร์ที่น่าสนใจ
เช่น ด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร สิ่งแวดล้อม โดยนักศึกษาเลือกหัวข้อที่สนใจ
และจัดทำเป็นรายงานพร้อมทั้งนำเสนอให้เห็นถึงเทคนิคทางภูมิสารสนเทศที่ใช้ในการศึกษา
- គ្រូ: อาจารย์สโรชินี แก้วธานี
ระเบียบวิธีดำเนินการและรูปแบบการวิจัยทางภูมิสารสนเทศ การวางแผน การเลือกหัวข้อและการทำเค้าโครงวิจัย การตั้งสมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงานการวิจัยฝึกปฏิบัติการวิจัยภูมิสารสนเทศเบื้องต้น
- គ្រូ: อาจารย์วิชาญ พันธุ์ดี
แนวคิด ทฤษฎี หลักการ ความรู้เกี่ยวกับแผนที่ ระบบพิกัด มาตราส่วน ทิศทาง การอ่านแผนที่ การแปลความหมายภาพถ่ายทางอากาศ และการฝึกปฏิบัติการภาคสนาม
- គ្រូ: อาจารย์วิชาญ พันธุ์ดี
ประวัติของระบบดาวเทียมนำทางบนพื้นโลก
ระบบของดาวเทียม ประเภทวงโคจรของดาวเทียม องค์ประกอบของระบบดาวเทียมนำทางบนพื้นโลก
ดาวเทียมนำทางบนพื้นโลกที่สำคัญ โครงสร้างของข้อมูลจากระบบดาวเทียมนำทางบนพื้นโลก
การสำรวจด้วยระบบดาวเทียมนำทางบนพื้นโลก
และการประยุกต์ใช้ระบบดาวเทียมนำทางบนพื้นโลก
- គ្រូ: อาจารย์วิชาญ พันธุ์ดี
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างและวิเคราะห์แผนที่ การจัดการข้อมูลพื้นฐานในการทำแผนที่ ฝึกการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อจัดทำแผนที่ในด้านต่างๆ
- គ្រូ: อาจารย์วิชาญ พันธุ์ดี
ศึกษาเกี่ยวกับวัฏจักรน้ำ การเคลื่อนที่ การกระจายตัว ปริมาณและคุณภาพของน้ำบนโลก สัณฐานวิทยาลุ่มน้ำ กระบวนการของลำน้ำ หยาดน้ำฟ้า น้ำท่า การคายระเหย การซึมลงดิน ความชื้นในดิน น้ำใต้ดิน กราฟน้ำท่า กระบวนการพังทลายของดินและการตกตะกอน เทคโนโลยี ภูมิสารสนเทศสำหรับการศึกษาด้านอุทกวิทยา
หลักการ เทคนิค และแบบจำลองที่ใช้ในการวิเคราะห์เพื่อตอบโจทย์ปัญหาเชิงพื้นที่ ครอบคลุมการวิเคราะห์ด้านโครงข่าย การวิเคราะห์ภูมิประเทศและลุ่มน้ำ แบบจำลองเชิงขั้ว แบบจำลองเชิงดัชนี แบบจำลองเชิงกระบวนการ และแบบจำลองเชิงถดถอย ฝึกปฏิบัติการโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์